|
1 | ข้อใดคือวิธีการใช้เครื่องดนตรีประเภทเป่าที่ผิด |
|
|
|
ยกมือทั้งสองข้างขึ้นแล้วหนีบแขน |
|
|
|
มือ ขวาอยู่ด้านบนมือซ้ายอยู่ด้านล่าง |
|
|
|
ยกมือทั้งสองข้างให้แขนทั้งสองข้างกลางออกพอประมาณ ไม่หนีบแขน จับขลุ่ยและปี่ในท่าสบาย ไม่เกร็ง |
|
|
|
ผู้เป่าสามารถนั่งได้ทั้งท่าพับเพียบและนั่งขัดสมาธิ นั่งตัวตรง |
|
|
|
|
|
2 | ข้อใดคือวิธีการเก็บเครื่องดนตรีประเภทเป่าที่ผิด |
|
|
|
เมื่อเลิกเป่าปี่ให้เก็บลิ้นปี่ใส่กล่องทันทีกันลิ้นปี่หัก |
|
|
|
ลิ้นปี่ให้ตากลมให้แห้งก่อนเก็บ |
|
|
|
ส่วนใดที่ไม่ถูก น้ำลายให้ใช้ผ้าเช็ด |
|
|
|
ควรทำความสะอาดโดยการนำส่วนที่เปียกน้ำลายไปล้างด้วยน้ำสะอาด |
|
|
|
|
|
3 | บุคคลในข้อใด ดูแลรักษาเครื่องดนตรีได้ถูกต้องและเหมาะสมที่สุด |
|
|
|
นรินทร์ ถือซอด้วงแกว่งไปมา |
|
|
|
มานพ ยกฆ้องพิงกำแพงหลังบรรเลงเสร็จ |
|
|
|
มานิต วางกระจับปี่พิงตะแคงกับฝาผนัง |
|
|
|
ดุริยางค์ ปลดเชือกระนาดออกจากตะขอฝั่งซ้าย แล้วเก็บไม้ตีไว้ในราง |
|
|
|
|
|
4 | เพราะเหตุใด จึงต้องลดสายซอและเลื่อนหย่องหนุนสายซอไว้ที่ขอบหน้าซอทุกครั้งที่บรรเลงเสร็จ |
|
|
|
เพราะ สายซอมีขนาดเล็กต้องลดสายแล้วเอาหย่องออกเพื่อป้องกันสายขาด |
|
|
|
เพราะ สายซอจะกดทับหย่องแล้วทำให้หน้าซอยุบลง หน้าและสายซออาจจะขาดได้ |
|
|
|
เพราะ สายซอจะกดทับหย่องให้เป็นรอย ทำให้ไม่สวยงาม |
|
|
|
เพราะ ย่องซอมีขนาดเล็ก ต้องเอาออกทุกครั้งป้องกันการสูญหาย |
|
|
|
|
|
5 | ข้อใดมีวิธีเก็บรักษาเครื่องดนตรีที่คล้ายคลึงกันมากที่สุด |
|
|
|
ฆ้องวงใหญ่, ระนาดเอก,ขลุ่ย |
|
|
|
ขิม, จะเข้,ซอสามสาย |
|
|
|
ซอสามสาย,ซอด้วง,ซออู้ |
|
|
|
ระนาดทุ้ม,ซอด้วง,จะเข้ |
|
|
|
|
|
6 | เมื่อมีความจำเป็นต้องเก็บเครื่องดนตรีรวมกัน บุคคลในข้อใดปฎิบัติได้
ถูกต้องที่สุด |
|
|
|
สมพล วางซอด้วง ซออู้ไว้ในฆ้องวงใหญ่ |
|
|
|
กรพร แขวนซอด้วง ซออู้ไว้ในตู้อย่างเป็นระเบียบ |
|
|
|
สมพร วางกระจับปี่และซอสามสายไว้บนที่ตั้ง แล้วไปวางบนโต๊ะทำงาน |
|
|
|
พชร ล้างขลุ่ยอย่างสะอาดโดยใช้สบู่ถู |
|
|
|
|
|
7 | ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์หลักของการใช้และดูแลรักษาเครื่องดนตรีไทย |
|
|
|
ความปลอดภัยจากการเก็บรักษาเครื่องดนตรี |
|
|
|
เป็นระเบียบ ทำให้สะดวกในการหยิบใช้ |
|
|
|
สามารถยืดอายุการใช้งานของเครื่องดนตรี |
|
|
|
ความสวยงาม |
|
|
|
|
|
8 | เครื่องดนตรีข้อใดมีวิธีการใช้และดูแลรักษาแบบเดียวกันหมด |
|
|
|
ระนาดเอก,ระนาดทุ้ม |
|
|
|
ซอด้วง,ขิม |
|
|
|
ระนาดเอก,ระนาดเอกเหล็ก |
|
|
|
ฆ้องวงใหญ่,ซอด้วง |
|
|
|
|
|
9 | สิ่งที่ต้องระวังมากที่สุดในการดูแลรักษาเครื่องดนตรีประเภทกลองได้แก่ข้อใด |
|
|
|
หนูกัดหนังกลอง,อากาศร้อน |
|
|
|
เปียกน้ำและอากาศชื่น |
|
|
|
เปียกน้ำและอากาศเย็น |
|
|
|
เปียกน้ำและหนูกัดหนังกลอง |
|
|
|
|
|
10 | เราใช้สิ่งใดซ่อมตะกั่วถ่วงเสียงเวลาหลุด |
|
|
|
กาวตาช้างทาแล้วติดไว้ที่เดิม |
|
|
|
ใช้เทียนจุดไฟ ลนตะกั่วให้ละลายแล้วติดไว้ที่เดิม |
|
|
|
ใช้ไม้ขีดหรือไฟแช็ค ลนตะกั่วให้ละลายแล้วติดไว้ที่เดิม |
|
|
|
สามารถทำได้ทุกวิธีที่กล่าวมา |
|
|
|
|
|
11 | เครื่องดนตรีประเภทเป่า นิยมทำความสะอาดอย่างไร |
|
|
|
นำส่วนที่ถูกน้ำลายไปต้ม |
|
|
|
นำไปแช่น้ำทิ้งไว้หนึ่งคืน |
|
|
|
นำไปล้างส่วนที่ถูกน้ำลายแล้วใช้ผ้าเช็ดส่วนที่เปียก หรือผึ่งลมให้แห้ง |
|
|
|
นำไปลนไฟเพื่อฆ่าเชื้อรา |
|
|
|
|
|
12 | ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องตามหลักการใช้และการดูแลรักษาเครื่องดนตรีไทย |
|
|
|
เครื่องดนตรีแต่ละประเภทมีวิธีการใช้ และวิธีเก็บรักษาที่แตกต่างกัน |
|
|
|
นักเรียนวิชาดนตรีจำเป็นต้องรู้วิธีการใช้และการเก็บรักษาเครื่องดนตรีเพื่อยึดอายุการใช้งานเครื่องดนตรี |
|
|
|
ระนาดเอก,ระนาดทุ้ม,ฆ้องวงมีวิธีการบรรเลงที่แตกต่างกันแต่วิธีการเก็บรักษาคล้ายคลึงกัน |
|
|
|
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่ามีวิธีการเก็บรักษาที่เหมือนกันกับเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด |
|
|
|
|
|